ข้อมูลที่มา อธิวรรธน์ พยอมใหม่ รุ่น 6 ณ โรงแรมไมด้า
นนทบุรี
ก่อนเข้ารับการอบรม...ล้างข้อมูลให้สมองมันว่างจากข้อมูลความรู้เดิม ความเข้าใจเดิม (เก็บมันไว้ในแก้วอีกใบหนึ่ง ) ... เข้าอบรมมีแก้วที่ว่างเปล่าเตรียมรับน้าที่เป็นความรู้ความเข้าใจใหม่...คอยเฝ้าดูว่าสิ่งใหม่ๆที่เข้ามามันต่างจากสิ่งเก่าๆที่เรามีอย่างไรบ้าง...เอาสิ่งที่ได้รับมาใหม่ ผสมกับสิ่งเก่าๆที่มีอยู่สร้างเป็นองค์ความรู้อีกชิ้นหนึ่งซึ่งเป็นชุดความรู้ที่จะนาพาให้เราเผชิญกับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ได้อย่างสบายๆ
1.
แนวทางการประเมินรอบสี่ ( พ.ศ.2559 – 2563 ) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.1
เน้นประเมินผลลัพธ์จากการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.2
ผลการประเมินไม่ตัดสิน ได้ ตก แต่มุ่งให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพ
1.3
การตรวจสอสอบเน้นเชิงคุณภาพมากกว่าเชิงปริมาณ
1.4
ประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ( Expert judgment )
1.5
ผลการประเมินมีระดับคุณภาพ 5 ระดับ พิจารณาจากเกณฑ์
4 มิติ
1.6
กระบวนการประเมิน 3 ขั้นตอน ( ก่อนประเมิน ระหว่างประเมิน หลังประเมิน )
2.
หัวใจหลักในการประเมินรอบสี่
2.1
การวิเคราะห์ SAR : การวิเคราะห์SAR รอบสี่นี้วิเคราะห์ก่อนการประเมินโดยใช้หลักการเชื่อมโยงระหว่าง
IQA กับ EQA นั่นคือ ประเด็นจากSAR วิเคราะห์ผ่านเกณฑ์พิจารณา 4 มิติของ สมศ. แล้วเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพภายนอก 5 ระดับ เพื่อทารายงานขอเข้าตรวจเยี่ยมสถานศึกษาใน
3 รูปแบบ และเพื่อยืนยันผลลัพธ์จากการประกันคุณภาพภายใน จากคณะผู้ประเมิน
( 3 องค์ประกอบ )
1)
ประเด็นจาก SAR คือ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และตัวชี้วัด
ของสถานศึกษา ( กฎกระทรวงฯ กำหนดให้สถานศึกษาจัดทำมาตรฐาน ตัวชี้วัด
ตามบริบทของสถานศึกษาเอง )
2)
เกณฑ์การพิจารณา 4 มิติ ได้แก่
มิติที่ 1 ความเป็นระบบ เหมาะสม เป็นไปได้ ( ด้านผู้เรียนไม่ต้องพิจารณาระบบ
)
หลักการพิจารณา
พิจารณาจากความครบถ้วน ถูกต้อง สอดคล้องกับมาตรฐาน/นโยบายต้นสังกัด
/ บริบทของสถานศึกษา
มิติที่ 2 ความเชื่อถือได้
หลักการพิจารณา
พิจารณาจากผลการประเมินในSAR
กับที่มาของผลการประเมินจากกระบวนการประเมินภายในของสถานศึกษา และผลการตรวจสอบจากสภาพจริงเชิงประจักษ์
แล้วพิจารณาความสอดคล้องของผลการตัดสินของคณะผู้ประเมิน( Expert judgment )
กับ ผลใน SAR ( ถ้าระดับแตกต่างกันไม่เกิน
1 ระดับ ถือว่าสอดคล้อง )
มิติที่ 3 ประสิทธิผล
หลักการพิจารณา
พิจารณาจากผลการดาเนินงานตามแผน โครงการ กิจกรรม ที่มีผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ( บรรลุเป้าหมายตามแผน และผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ ) และพิจารณาพัฒนาการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
มิติที่ 4 นวัตกรรม หรือ การปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดี
หลักการพิจารณา
พิจารณาจากสถานศึกษามีนววัตกรรม หรือ การปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างที่ดีมีผลที่เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนในแต่ละด้าน ( ผู้เรียน ครู การบริหาร การประกันคุณภาพภายใน ) อย่างไรบ้าง
มีหลักฐานยืนยันเป็นที่ยอมรับจากใคร ที่ไหน
3)
รูปแบบการเข้าตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 3 รูปแบบ การพิจารณาตัดสินว่าจะเข้าตรวจเยี่ยมสถานศึกษารูปแบบใด
ดูจากผลการวิเคราะห์ SAR ว่าเรามีประเด็นใดบ้างที่จะต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
ต้องแสดงอย่างสมเหตุสมผล เสนอต่อคณะกรรมการ สมศ. ( ค่าตอบแทนแปรผันตามรูปแบบ
)
รูปแบบที่ 1 ไม่ต้องออกตรวจเยี่ยม
รูปแบบที่ 2 ออกตรวจเยี่ยม 1 – 2 วัน
รูปแบบที่ 3 ออกตรวจเยี่ยมเต็มรูปแบบ 3 วัน
4)
คณะผู้ประเมิน ( Expert judgment ) ประกอบด้วย
ผู้ทรงคุณวุฒิจาก สมศ. / ผู้แทนจากต้นสังกัด / ผู้มีประสบการณ์การบริหาร โดย ผู้ทรงคุณวุฒิฯ มีตาแหน่งเป็นประธานกรรมการ ส่วนตาแหน่งเลขานุการพิจารณาจาก
2 องค์ประกอบ 1 ท่าน ที่เหลือเป็นกรรมการ
5)
ค่าตอบแทน เป็นแบบเหมารวมในสถานศึกษาแต่ละแห่ง ค่าตอบแทนต่างกันไปตามรูปแบบการเข้าตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
3 วัน > 2 วัน > 1 วัน > ไม่ตรวจเยี่ยม ( ค่าตอบแทนยังไม่นิ่ง )
2.2 การเป็นผู้ประเมินเชี่ยวชาญ
: การจะเป็นผู้เชี่ยวชาญ ( Expert judgment ) ต้องมีความแตกฉาน
3 เรื่อง
1)
ด้านความรู้ : ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ทั้ง IQA และ EQA / กฎหมาย / นโยบายทางการศึกษาภาครัฐ ต้นสังกัด / การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักประกันคุณภาพภายใน
/ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการวัดประเมินผลการเรียนรู้
2)
ด้านความสามารถ : มีทักษะ 4 ด้าน
ด้านที่ 1 ทักษะการสื่อสาร ( อ่าน / เขียน
/ ฟัง / พูด )
ด้านที่ 2 ทักษะการคิด ( คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณ เป็นระบบ
)
ด้านที่ 3 ทักษะการใช้เทคโนโลยี ( ระบบ AQA )
ด้านที่ 4 ทักษะมนุษย์ ( หลักมนุษยสัมพันธ์ )
3)
ด้านบุคลิกภาพ ( กาย วาจา ใจ ) หลักปฏิบัติกัลยาณมิตร / จรรยาบรรณผู้ประเมิน
3.
กระบวนการประเมิน 3 ระยะ ( เมื่อมีปฏิทินการประเมินภายนอก )
3.1
ระยะที่ 1 กระบวนการก่อนเข้าตรวจเยี่ยม
1)
วิเคราะห์ SAR เพื่อยืนยันสภาพจริง ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเข้าตรวจเยี่ยม
2)
ทารายงานเสนอคณะกรรมการ สมศ. อนุมัติ การตรวจเยี่ยมสถานศึกษา
1 ใน 3 รูปแบบ
3)
ถ้าได้รับการอนุมัติให้ออกตรวจเยี่ยม จะได้รับค่าตอบแทน ระยะ
1 ( 50 % )
4)
คณะผู้ประเมินประชุมวางแผนการเข้าตรวจเยี่ยม
3.2
ระยะที่ 2 กระบวนการระหว่างตรวจเยี่ยม
1)
เข้าตรวจเยี่ยมตามเวลาที่กาหนด ( ไม่ช้า ไม่เร็วเกินไป
)
2)
แนะนาคณะกรรมการประเมิน / ชี้แจงวัตถุประสงค์
/ กระบวนการประเมิน / ประเด็นการประเมิน
/ ระยะเวลาตรวจเยี่ยม
3)
ดำเนินการตรวจเยี่ยมเก็บรวมรวมข้อมูลประเด็นที่ต้องการ บันทึกภาคสนามตามแบบ
สมศ.
ตามกำหนดการ
4)
ประชุม / วิเคราะห์ สังเคราะห์ / สรุปผลการประเมินร่วมกัน
5)
รายงานผลการประเมินด้วยวาจาต่อสถานศึกษา
3.3
ระยะที่ 3 กระบวนการหลังการตรวจเยี่ยม
1)
จัดทาร่างรายงานส่งมายังสถานศึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องในผลการประเมิน
หากมีความเห็นต่างในผลการประเมินให้สถานศึกษาแสดงข้อโต้แย้ง เอกสารหลักฐานเพิ่มเติมได้
คณะผู้ประเมินประชุมตัดสินปรับแก้ผล หรือยืนยัยผลการประเมิน แล้วจัดทารายงายเสนอต่อคณะกรรมการ
สมศ. พิจารณาต่อไป
2)
หากการพิจารณาตรวจสอบรายงานผลการประเมินจากคณะกรรมการ สมศ. เรียบร้อย จะได้ค่าตอบแทน ระยะที่ 2 อีก ( 50
% ) ถ้ายังไม่เรียบร้อยต้องมีการปรับแก้ให้เรียบร้อยตามกาหนดเวลา
3) หากส่งรายงานไม่ตรงเวลาจะมีการปรับ
ร้อยละ 0.1 ของเงินค่าตอบแทน / วัน